ข่าวข่าวภูมิภาค
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา แจง วิธีการเขียน กรุงเทพมหานคร

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ชี้แจงวิธีการเขียน กรุงเทพมหานคร (Krung Thep Maha Nakhon) และ Bangkok ยืนยันใช้ได้ทั้งสองคำ
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้โพสต์ภาพประชาสัมพันธ์ผ่านเฟซบุ๊ก หลังจากที่เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ เรื่องการเปลี่ยนชื่อเมืองหลวงของกรุงเทพจาก Bangkok เป็น Krung Thep Maha Nakhon นั้น ซึ่งทาง สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ยืนยันว่ายังสามารถใช้ได้สองคำ
Advertisements
โดยทางสำนักงานราชบัณฑิตยสภาระบุว่า “ประกาศราชบัณฑิตยสภาด้วยอักษรโรมัน ปรากฏในประกาศราชบัณฑิตยสภาสถานและประกาศราชบัณฑิตยสภา โดยลำดับดังนี้
อย่างไรก็ตามแม้จะมีการประกาศ ก็ยังมีชาวเน็ตจำนวนหนึ่งออกมาตั้งคำถามอยู่ดี เช่น ความแตกต่างของการใช้ ; และ วงเล็บ โดยระบุว่าจุดประสงค์ของสัญลักษณ์นี้ต่างกัน พร้อมทั้งยังมีชาวเน็ตอีกจำนวนหนึ่งออกมาตำหนิว่า ถ้าใช้ตั้งนานแล้วจะประกาศซ้ำให้เกิดความสับสนทำไม?
- ราชบัณฑิตยสภา เปลี่ยนชื่ออังกฤษ กรุงเทพ เพื่อใช้ในงานราชการเท่านั้น
- ราชบัณฑิตยสภา แจง ชื่อภาษาอังกฤษ กรุงเทพมหานคร ใช้ได้ทั้งสองแบบ
- ประวัติชื่อ กรุงเทพมหานคร จาก Bangkok สู่ Krung Thep Maha Nakhon
Advertisements