ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุว่า ในสิ้นปี 2566 คนไทยมีบัญชีเงินฝากทั้งหมด 121.40 ล้านบัญชี แบ่งเป็นบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ 110.84 ล้านบัญชี ถ้าหากใช้เกณฑ์ความรวยที่ 50,000 บาทจะพบว่า
- บัญชีมีเงินฝากไม่ถึง 50,000 บาท มากถึง 98.52 ล้านบัญชี คิดเป็น 88.88%
- มีบัญชีฝากเงินเกิน 500 ล้านบาท อยู่ที่จำนวน 1,023 บัญชี คิดเป็น 11.12%
จังหวัดที่มีเงินเก็บมากสุด 10 จังหวัดแรก
1.กรุงเทพฯ 10,578,153 บาท
2.นนทบุรี 586,002 บาท
3.สมุทรปราการ 583,762 บาท
4.ชลบุรี 551,649 บาท
5.ปทุมธานี 345,482 บาท
6.เชียงใหม่ 291,601 บาท
7.นครปฐม 230,548 บาท
8.สมุทรสาคร 196,036 บาท
9.สงขลา 194,187 บาท
10.ระยอง 190,014 บาท
จังหวัดที่มีเงินเก็บน้อยสุด 10 จังหวัดแรก
1.แม่ฮ่องสอน 7,452 บาท
2.อ่านาจเจริญ 9,295 บาท
3.บึงกาฬ 9,837 บาท
4.สตูล 10,966 บาท
5.หนองบัวล่าภู 14,052 บาท
6.มุกดาหาร 15,703 บาท
7.อุทัยธานี 15,903 บาท
8.น่าน 16,188 บาท
9.ชัยนาท 18,060 บาท
10.ยโสธร 18,1491 บาท
เงินเก็บคนไทยแบ่งตามรายภาค
- ภาคกลาง (ไม่รวมกรุงเทพฯ) มีเงินฝาก 3,665,613 ล้านบาท
- ภาคอีสานมีเงินฝาก 956,765 ล้านบาท
- ภาคเหนือมีเงินฝาก 835,805 ล้านบาท
- ภาคใต้มีเงินฝาก 861,239 ล้านบาท
ข้อมูลน่าสนใตว่า ภาคเหนือมีเงินออมน้อยที่สุด ขณะที่ภาคกลางมีเงินเก็บมากที่สุด ซึ่งภาคที่เหลือมีเงินไม่ถึงล้านเลยแม้แต่ภูมิภาคเดียว แสดงให้เห็นถึงความห่างของความเจริญที่กระจุกตัวอยู่ค่อนข้างมาก
มีรายได้ เงินเก็บกี่บาท เรียกว่าจน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้กำหนดเกณฑ์วัดความรวยความน คิดจากรายได้ประชากรต่อเดือน ถ้ามีเงินเดือนหรือรายได้ต่ำกว่า 2,802 บาทต่อคนต่อเดือน ถือว่าจน
ขณะที่ข้อมูลจากฟากฝั่งรัฐบาลที่ประชุมล่าสุดเพื่อกำหนดเกณฑ์คนรวย ใช้ตัดสิทธิออกจากการแจกเงินดิจิทัลวอลเล็ต 10,000 บาท เป็น 3 แนวทางคือ
- ใช้เกณฑ์บัตรคนจนซึ่งเป็นเกณฑ์เดียวกับสำนักงานสถิติแห่งชาติ
- มีรายได้เดือนละ 25,000 บาท หรือ มีเงินฝากในบัญชี 1 แสนบาท
- มีรายได้เกินเดือนละ 50,000 บาท หรือ มีเงินฝากในบัญชี 5 แสนบาท
อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง